You are on page 1of 12

การใช้ภาษาในการโน้มน้าวใจ

นําเสนอโดย : ขวัญชนก (๔), กฤษณพงษ์ (๑๐), ดรัณ (๑๔),


สิปปภณ (๑๗), ไทอิชิ (๑๘), จิรัฐโชติ (๒๐), ณัฐนนท์ (๒๑)

ห้อง ๑๑๐๘
ความหมายและความสําคัญของการโน้มน้าวใจ

โน้มน้าว หมายถึง กระทําโดยพยายามเปลียนสภาพเดิมของสิงใดสิงหนึงให้เปนไปตามทิศทางที


ผู้กระทําต้องการ พอรวมกับคําว่า ใจ ความหมายของคําว่า การโน้มน้าวใจ ซึงเปนพฤติกรรม
การสือสารอย่างหนึงก็คือการใช้ความพยายามเปลียนความเชือ ทัศนคติ ค่านิยม เเละการกระ
ทําของบุคคลอืน โดยใช้กลวิธีทีเหมาะสมให้มีผลกระทบใจบุคคลนัน ทังโดยวัจนภาษาเเละ
อวัจนภาษา จนเกิดการยอมรับเเละยอมเปลียนตามทีผู้โน้มน้าวใจต้องการ

ตัวอย่าง

- บ้านเมืองจะสะอาดถ้าปราศจากคนมักง่าย
- ทุกสิงวิเศษยิงด้วย โคคา-โคล่า
ความต้องการพื นฐานของมนุษย์กับการโน้มน้าวใจ

ทําไมความต้องการพื นฐานของมนุษย์ถึงมีความเกียวข้องกันกับการโน้มน้าวใจ?

: เพราะว่าความต้องการพื นฐานเปนสาเหตุหลักทีทําให้มนุษย์เกิดความรู้สึกนึกคิดและแสดงพฤติกรรมไปทาง
ใด ทางหนึง ถ้าตนได้ปรับเปลียนความคิดและการกระทําไปตามแนวทางทีถูกเร้าแล้ว ตนก็จะได้รับสิงซึงสนอง
ความต้องการขันพื นฐานสมความปรารถนา เมือนันมนุษย์จะอยู่ในสภาวะทีถูกโน้มน้าวใจได้

หลักการของความคิดนี

: ทําให้ผู้คนเชือ เห็นคุณค่า หรือทําตามทีเราชีแจงหรือแนะนําแล้ว จะทําให้เราได้รับผลตอบสนองตามทีเรา


ต้องการ
กลวิธีในการโน้มน้าวใจ
๑. การแสดงให้เห็นถึงความน่าเชือถือของบุคคลผู้โน้มน้าวใจ ประกอบด้วยคุณลักษณะที
สําคัญ คือ มีความรู้จริง มีคุณธรรมและมีความปรารถนาดีต่อผู้อืน

๒. การแสดงให้เห็นความหนักแน่นของเหตุผล
๓. การแสดงให้ประจักษ์ถึงความรู้สึกหรืออารมณ์ร่วมกัน

๔. การแสดงให้เห็นทางเลือกทังด้านดีและด้านเสีย เปนการเปดโอกาสให้ผู้ทีตนโน้มน้าวใจได้
ใช้วิจารณญาณของตนเองเปรียบเทียบจนเห็นประจักษ์ว่าทางทีชีแนะนันมีด้านดีมากกว่าด่าน
เสีย ดังนันการโน้มน้าวใจก็สัมฤทธิผล
กลวิธีในการโน้มน้าวใจ

๕. การเร้าให้เกิดอารมณ์อย่างแรงกล้า ไม่ว่าจะเปนความดีใจ เสียใจ โกรธแค้น กังวล หวาด


กลัว ฯลฯ จะทําให้มนุษย์ขาดเหตุผล ขาดการพิ จารณาอย่างรอบคอบ ยอมคล้อยตามผู้
โน้มน้าวใจได้ง่าย
๖. การสร้างความหรรษาแก่ผู้รับสาร การโน้มน้าวใจเพื อให้เกิดความหรรษา ผู้โน้มน้าวใจอาจ
ใช้วิธีการพู ดทีเล่นทีจริงบ้าง เพื อผ่อนคลายบรรยากาศทีตึงเครียด ทังนีต้องขึนอยู่กับโอกาส
สถานที และอัธยาศัยของบุคคลประกอบกันจึงจะทําให้เกิดผลสัมฤทธิ
ข้อสรุปเกียวกับการโน้มน้าวใจ
๑. การโน้มน้าวใจไม่ใช่การกระทําให้มนุษย์เปลียนความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมด้วยวิธีขู่เข็ญ คุกคาม
หรือหลอกลวง
๒. การโน้มน้าวใจมิใช่พฤติกรรมทีดีหรือเลว แต่เปนพฤติกรรมกลางๆ ขึนอยู่กับเจตนาทีอยู่เบืองหลัง
ถ้าเปนเจตนาทีชัวร้าย การโน้มน้าวใจนันก็เปนสิงชัวร้าย เพราะอาจก่อให้เกิดผลในทางหายนะได้ ถ้าเปน
เจตนาทีดีงาม การโน้มน้าวใจก็เปนสิงทีดีงาม เพราะอาจก่อให้เกิดผลทางวัฒนะได้
๓. การโน้มน้าวใจมีจุดมุ่งหมายเสมอ และต้องใช้กลวิธีทีทําให้เกิดผล คือ การยอมรับและยอมเปลียน
พฤติกรรม ซึงรวมทังทัศนคติ ความเชือ คู่รสนิยม และ การกระทํา
๔. การเรียนรู้กลวิธีโน้มน้าวใจต้องมีความรับผิดชอบด้านจริยธรรม ควบคู่ไปด้วย
เช่น : ต้องมีความสุจริตใจ ไม่พูดโน้มน้าวไปในทางขัดศิ ลธรรม และกระทบความมันคงของชาติ มิฉะนัน
จะมีอันตราย และไม่มีผู้เชืิอถือ การมีความรู้จึงสําคัญมาก เพราะ ทําให้คนไม่ตกเปนเหยือทีใช้การโน้มน้าว
ใจไปในทางไม่ดี
ภาษาทีโน้มน้าวใจ

ลักษณะโนมนาวใจมีลักษณะ เปนการเชิง เสนอเเนะ ขอรอง วิงวอน หรือ เราใจ

โดยการใชถอยคําใหเกิด นํา◌้เสียง จะตองเลือกคําที่ตองการ โดย คํานึงถึง ความ


นุมนวลดวย

คําขวัญ คือ คําพูดที่กลาวใหเปนขอคิดหรือแนวทางปฏิบัติเนื่องในกรณีใดกรณีหนึ่ง


หรือโอกาสใดโอกาสหนึ่ง เปนขอเตือนใหระลึกถึงหนาที่การงานและความประพฤติ
ตาง ๆ
คําขวัญ ตัวอยาง

บานเมือง สะอาด ประชาชาติปลอดภัย

ทิ้งขยะไมเลือกที่ หมดราศีไปทั้งเมือง

ไปใชสิทธิ์อยางเสรี เลือกคนดีเปนผูแทน

สะอาดกายเจริญวัย สะอาดใจเจริญสุข

ปาไมคือหลังคาของชาติ ถาพินาศ ชาติจะอยูไดอยางไร

เสร็จกิจปดไฟ ชวยไทยประหยัดนํ้ามัน

นํ้าประปามีคาตอชีวิต ประหยัดวันละนิด ชวยเศรษฐกิจได

นํ้ามันขาดแคลน วางแผนประหยัด เพื่อรัฐของเรา

เห็นอะไรผิดสังเกต รีบแจงเหตุใหยามรู
ภาษาทีโน้มน้าวใจ

ลักษณะโน้มน้าวใจมีลักษณะ เปนการเชิง เสนอเเนะ ขอร้อง วิงวอน หรือ เร้าใจ การ


ใชถ้อยคําให้เกิด นํา้เสียง จะต้องเลือกคําทีต้องการ โดย คํานึงถึง ความนุ่มนวลด้วย

คําขวัญ คือ คําพู ดทีกล่าวให้เปนข้อคิดหรือแนวทางปฏิบัติเนืองในกรณีใดกรณีหนึง


หรือโอกาสใดโอกาสหนึง เปนข้อเตือนให้ระลึกถึงหน้าทีการงานและความประพฤติ
ต่าง ๆ
คําเชิญชวน

คําเชิญชวนเปนการแนะให้ช่วยกันทําการใดอย่างหนึงอาจปรากฏต่อสาธารณชนในรูปของ
ประกาศหรืออาจเปนการบอกกล่าวด้วย วาจาส่วนมากมักจะเปนการเชิณชวนให้ทําประโยชน์แก่
ส่วนรวมแก่สังคมหรือสาธารณประโยชน์และมักมีหน่วยงานใดหน่วยงานหนึง เปนผู็รับผิดชอบ คํา
ประกาศเชิญชวนดังกล่าวมักจะบ่งบอกจุดประสงค์อย่งชัดเจน และชีให้เห็นประโยชน์แก่ส่วนรวม

กลวิธีโน้มน้าวใจมักเปนการกระตุ้นให้ผู้ถูกโน้มน้าวใจภูมิใจว่าเขาได้เปนส่วนหนึงของผู้ทีทําประโยชน์
แก่ส่วนรวมและเปนผู้ทีถูกยอมรับในสังคมแต่กระนัน ก็ดีเราก็ควรพิ จารณาคําเชิญชวนอย่าง
รอบคอบเพราะเคยปรากฎว่าพวจมิจฉาชีพมักแอบอ้างผลประโยชน์จากการ เชิญชวนดังกล่าว
โฆษณาสินคาหรือโฆษณาบริการ

การโฆษณาหรือบริการเปนการสงสารโนมนาวใจตอ ๓.เนื้อหาที่ชี้ใหเห็นถึงความวิเศษของคุณภาพ
สาธารณชน เพื่อประโยชนในการขายสินคาเเละ ของสินคาหรือบริการที่นําเสนอ สวนมากมักเกิน
บริการเหลานั้น สินคาเปนสิ่งที่จับตองไดไมวาสงหรือ จริง
ขายปลีกก็ตาม
๔. จับจุดออนของกลุมของผูซื้อที่เปนเปาหมาย
สวนมากมักจะยอมคลอยตามการโนมนางใจที่
ลักษณะสําคัญมีดังตอไปนี้
มุงสนองความตองการของคน
๑. บทโฆณาสวนมากจะมีสวน
๕. เนื้อหาของสารโฆณาเปนอันมาก มักขาด
นําที่สะดุดตาซึ่งมีผลทําใหดึงดูดผูคนมาโดยใช ถอย เหตุผลที่หนักเเนนเเละรัดกุม ขาดความถูกตอง
คําเเปลกใหม หรือคําที่ผูกขึ้นโดยไมสมเหตุสมผลนัก ทางวิชาการ ชะนั้นผูฟงตองมีการวาเคราห คิด
หาเหตุผลจากเเหลงที่นาเชื่อถือได
๒. ตัวสารจะไมใชถอย
คํายือยาวเเละไมครอบคลุมเนื้อหาอยางครบถวยมักใ ๖. สารโฆณาจะปรากฎทางสื่อชนิดตางๆหลายๆ
ช ประโยคสั้นที่มีใจความ ครั้ง เเละเจาของ ก็จะดัดเเปลงกันไปเลื่อยๆเพื่อ
หากลวิธีเรียกรองจากสาธารณชน
โฆษณาชวนเชือ
๑. การตราชือเปนกลวิธีเบนความสนใจของผู้รับสารไปจากเหตุผลเเละข้อเท็จจริงเพื อให้หมดความ เชือในตัวบุคคลหรือสถาบันฝาย
ตรงข้ามโดยหาคําพู ดมาใช้เรียกฝายตรงกันข้ามเพื อเร้าอารมณ์ ของผู้รับสาร

๒. การใช้ถ้อยคําหรูหรา ทําให้ผู้อืนเกิดความเลือมใสในความคิดของบุคคล สถาบันหรืออุดมการณ์ต่างๆ โดยไม่ใช้ความคิดหรือ


เหตุผลตรวจสอบความถูกต้องทีเเท้จริง หรือความสมเหตุสมผลของเนือหานันๆอีกเช่นกัน

๓ การอ้างบุคคลหรือสถาบัน เปนกลวิธีข้อนีเน้นการใช้วิธีอ้างอิงถึงสถาบันหรือบุคคลทีทรงคุณวุฒิหรือเปนทีเคราพนับถือผู้
โฆษณาชวนเชือเลือกนํามาอ้างเพื อทําให้ผู้ฟงเกิดทรรศนคติทีดี

๔. ทําเหมือนชาวบ้านธรรมดาๆ - กลวิธีนีผู้โฆษณาชวนเชือจะเชือมโยงตัวเองหรือความคิดของตนเองให้สอดคล้องและผูกพั นกับ


ชาวบ้านด้วย คําพู ด การกระทํา

๕. อ้างแต่ทีเปนประโยชน์ตน - กลวิธีนีผู้โฆษณาชวนเชือจะนําเสนอแต่แง่ดีของตนเพื อกลบเกลือนแง่ลบของตนเอง

๖. อ้างคนส่วนใหญ่ -
กลวิธีนีผู้โฆษณาชวนเชือจะพยายามชักจูงผู้รับสารให้ประพฤติหรือปฎิบัติตามคนส่วนใหญ่เพื อทีจะได้รับความยอมรับในสังคม

You might also like