You are on page 1of 3

1/26/2018 ภัยคุกคามทางไซเบอร์ กับกฎหมายไซเบอร์ไทย- ประชาชาติ

ภัยคุกคามทางไซเบอร์ กับกฎหมายไซเบอร์ไทย-
วันที 4 ธันวาคม 2560 - 07:00 น.

28
SHARES

่ ยก ันคิด
คอล ัมน์ ชว


โดย ดร.สราวุธ ปิ ติยาศกดิ สาขานิตศ
ิ าสตร์ มสธ.

“ภัยคุกคามทางไซเบอร์” (cyber threats) ถือเป็ นภัยคุกคามใหญ่หลวงต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ


ตลอดจนความมันคงของประเทศ การโจมตีทางไซเบอร์มห ่ การเจาะระบบคอมพิวเตอร์
ี ลายรูปแบบ เชน
(hacking) การสอดแนมข ้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสปายแวร์ การดักรับข ้อมูลคอมพิวเตอร์ (sniffing) การ

โจมตีโดยชุดคําสงไม่ พงึ ประสงค์ (Malicious Software : Malware) หรือการรุมสอบถามข ้อมูลจนระบบ
ล่ม (Denial of Service Attack : DOS) เป็ นต ้น

การโจมตีแต่ละครังล ้วนสร ้างความเสย ี หายอย่างมหาศาล ทังต่อความมันคง ความปลอดภัยของระบบ


สารสนเทศ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตลอดจนระบบเศรษฐกิจและความมันคงของประเทศปั จจุบน ั
ประเทศไทยได ้รับการแจ ้งเหตุภย ั คุกคามทางไซเบอร์ในแต่ละปี เป็ นจํานวนมาก โดย พ.ศ. 2560
ประเทศไทยมีการแจ ้งเหตุภย ั คุกคามทางไซเบอร์รวมถึง 67 ครัง (1 มกราคม-19 กันยายน 2560) รัฐบาล
ไทยโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงมีนโยบายให ้บูรณาการความมันคงปลอดภัยทาง
ไซเบอร์ควบคูก ่ บ
ั การขับเคลือนเศรษฐกิจดิจท ิ ล
ั โดยเตรียมจัดตัง “คณะกรรมการรักษาความมันคง
ปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ” หรือ National Cybersecurity Committee ซงมี ึ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายก
รัฐมนตรีทได
ี ้รับมอบหมายเป็ นประธาน

ทังนี เป็ นหนึงในยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจท ั เพือเศรษฐกิจและสงั คมของรัฐบาล ควบคูก


ิ ล ่ บ
ั การเตรียม
ประกาศใชร่้ าง พ.ร.บ.รักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. …

การรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ คือ การสร ้างความมันคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศและเครือ


ึ าเป็ นต ้องใชมาตรการทั
ข่ายคอมพิวเตอร์ ซงจํ ้ งทางเทคนิคและทางกฎหมาย รวมถึงการกํากับดูแลตนเอง
และการกํากับดูแลร่วมกันของบุคคล 3 ฝ่ าย ผู ้อาจได ้รับผลกระทบจากการโจมตีทางไซเบอร์ ได ้แก่ รัฐ
หน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม

https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-82440 1/3
1/26/2018 ภัยคุกคามทางไซเบอร์ กับกฎหมายไซเบอร์ไทย- ประชาชาติ

อย่างไรก็ด ี แม้มาตรการทางกฎหมายอาจมีความจําเป็นในการร ักษาความม ันคงปลอดภ ัย


ไซเบอร์ อ ันอาจกระทบถึงความม ันคงของชาติ แต่ความเข้มข้นของมาตรการด ังกล่าวก็ตอ
้ ง
ิ ธิเสรีภาพของประชาชน ให้ประชาชนย ังคงดํารงซงส
คํานึงถึงสท ึ ท
ิ ธิเสรีภาพในโลกไซเบอร์
(โลกเสมือนจริง) เสมอก ับทีมีในโลกแห่งความเป็นจริง

ด ้วยเหตุทการโจมตี
ี ทางไซเบอร์อาจกระทําโดยผู ้ไม่หวังดีทมาจากทั
ี งภายในและภายนอกประเทศ ฉะนัน
รัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม จําต ้องมีการประสานความร่วมมือกันอย่างเป็ นระบบ โดย
แต่ละฝ่ ายอาจมีบทบาทสําคัญ ดังนี

1.รัฐหรือหน่วยงานของรัฐ ต ้องมีหน ้าทีหลักในการประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคประชา


สงั คม รัฐต ้องกําหนดให ้ภาคเอกชนโดยเฉพาะอย่างยิงทีเกียวข ้องกับความมันคงของชาติ เชน่ กิจการ

ธนาคาร สายการบิน สาธารณูปโภค จัดให ้มีการบริหารความเสยงทางเทคนิ คทีดีและต่อเนือง เชน่ มีระบบ

การตังค่าแบบปลอดภัย มีระบบควบคุมการเข ้าถึง มีระบบป้ องกันชุดคําสงไม่พงึ ประสงค์ ระบบจัดการปิ ด
ชอ ่ งโหว่คอมพิวเตอร์ และมีการแบ็กอัพข ้อมูลสําคัญ เป็ นต ้น


2.ภาคเอกชนต ้องมีหน ้าทีบริหารความเสยงในการจั ดการทางเทคนิคเพือรักษาความมันคงปลอดภัย
ไซเบอร์ เชน ่ ไฟร์วอลล์ขอบเขต (boundary firewalls) เกตเวย์ อินเทอร์เน็ ต ระบบการตังค่าแบบ
ปลอดภัย ระบบควบคุมการเข ้าถึง เป็ นต ้นนอกจากนี หน่วยงานภาคเอกชนทีเกียวข ้องกับกิจการสําคัญ
เชน ่ กิจการธนาคาร สายการบิน ต ้องมีหน ้าทีรายงานการโจมตีทางไซเบอร์ให ้หน่วยงานของรัฐทันที เพือ
ป้ องกันความเสย ี หายอย่างทันการ

3.ภาคประชาสงั คม รวมถึงประชาชนจะได ้รับการคุ ้มครองสท ิ ธิเสรีภาพในโลกไซเบอร์ เสมอด ้วยโลกแห่ง


ความเป็ นจริง อย่างไรก็ตาม ภาคประชาสงั คมควรมีหน ้าทีเฝ้ าระวังระบบและข ้อมูลบนอินเทอร์เน็ ตให ้มี
ความมันคงปลอดภัย หากพบเว็บไซต์ทมี ี เนือหาไม่เหมาะสมหรือพบการโจมตีทางไซเบอร์ ควรรายงาน
ต่อเจ ้าหน ้าทีทีมีอํานาจในการจัดการปั ญหาดังกล่าวทันที

ในร่าง พ.ร.บ.รักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ของไทย ได ้นิยามศพ ั ท์คําว่า “ความมันคงปลอดภัย


ไซเบอร์” ว่าหมายถึง มาตรการและการดําเนินการ เพือปกป้ อง ป้ องกัน สง่ เสริมเพือรับมือกับสถานการณ์
ด ้านภัยคุกคามทีจะสง่ ผลต่อการให ้บริการด ้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ ต โครงข่าย
โทรคมนาคม การให ้บริการโดยปกติของดาวเทียม ระบบกิจการสาธารณูปโภคพืนฐาน และระบบกิจการ
สาธารณะทีสําคัญ ซงเป็
ึ นเครือข่ายในระดับประเทศ เพือมิให ้เกิดผลกระทบต่อความมันคงของชาติ ความ
มันคงทางการทหาร ความสงบเรียบร ้อยภายในประเทศ และความมันคงทางเศรษฐกิจ

ั ขา้ งต้น จะเห็นได้วา


จากนิยามศพท์ ่ กฎหมายไซเบอร์ของไทย มิได้มง
ุ่ เฉพาะความม ันคง
ปลอดภ ัยของระบบสารสนเทศและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทกระทบต่
ี อเศรษฐกิจเท่าน ัน แต่
หมายความรวมถึงความม ันคงทางการทหาร และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศด้วย

นอกจากนี กฎหมายไซเบอร์ของไทย ยังกําหนดให ้มี คณะกรรมการรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์


แห่งชาติเรียกย่อว่า “กปช.” มีหน ้าทีสําคัญ คือ กําหนดแนวทางและมาตรการตอบสนองและรับมือกับภัย

คุกคามไซเบอร์ และสงการหรื อประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เพือปฏิบต ั ใิ ห ้เป็ น
ไปตามนโยบายหรือแผนปฏิบต ั ก
ิ ารเกียวกับการรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ หรือให ้ดําเนินการอืน
ใดทีจําเป็ นต่อการรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ ทังในและนอกประเทศ ประการสําคัญทีสุดเพือ
ประโยชน์ในการปฏิบต ั ห ิ น ้าที

https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-82440 2/3
1/26/2018 ภัยคุกคามทางไซเบอร์ กับกฎหมายไซเบอร์ไทย- ประชาชาติ

กฎหมายกําหนดให ้พนักงานเจ ้าหน ้าที ทีได ้รับมอบหมายเป็ นหนังสอื จากเลขาธิการ กปช. มีอํานาจเข ้าถึง

ข ้อมูลการติดต่อสอสาร ทังทางไปรษณีย ์ โทรศพ ั ท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครืองมือหรืออุปกรณ์ในการ

สอสาร ื เล็กทรอนิกส ์ หรือสอทางเทคโนโลยี
สออิ ื สารสนเทศใด หรือดําเนินการตามมาตรการทีเหมาะสม
เพือประโยชน์ในการปฏิบต ั กิ ารรักษาความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ และระงับยับยังความเสย ี หายทีจะเกิด
ขึน

ทังนี ในการปฏิบตั ก ั
ิ ารของเจ ้าหน ้าทีดังกล่าว ให ้ยืนคําร ้องเพือ ขอคําสงศาล ในการปฏิบต ั ต
ิ ามอํานาจ
หน ้าที แต่ในกรณีจําเป็ นเร่งด่วน ทีจะเกิดความเสย ี หายอย่างร ้ายแรง ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีโดยอนุมต ั ข
ิ อง
กปช. ดําเนินการไปก่อนแล ้วรายงานให ้ศาลทราบโดยเร็ว

กฎหมายไซเบอร์ของไทย มุง ่ ร ักษาความม ันคงของร ัฐจากการกระทําในโลกไซเบอร์ โดยให้


อํานาจพิเศษแก่ กปช.อย่างมาก กปช.มีอา ื
ํ นาจอนุม ัติให้เจ้าหน้าทีเข้าถึงการติดต่อสอสารทุ
กรูป
แบบของประชาชน ท ังนี กฎหมายไซเบอร์ของไทยควรมุง ่ เน้นในการสร้างความร่วมมือระหว่าง
ร ัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงคมั ในล ักษณะของการกําก ับดูแลตนเอง และการกําก ับดูแลร่วม
้ ัวบทกฎหมาย ทีเข้มงวดเกินไป อาจกระทบถึงสท
ก ัน มากกว่าการใชต ิ ธิเสรีภาของประชาชนใน

การติดต่อสอสารได้

https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-82440 3/3

You might also like